วิกฤตคนจน Secrets

ผลทางเศรษฐกิจก็ออกมาในรูปแบบที่ยังไม่น่าพึงพอใจ เกิดการสูญเปล่าจากการใช้เงิน เนื่องจากเงินที่เบิกจ่ายไปมีผลต่อการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรโดยรวมที่ต่ำมาก การเพิ่มขึ้นของรายได้ไม่ได้มากพอที่จะนำไปเป็นทุน ทำให้เงินที่เพิ่มขึ้นจึงกลายเป็นส่วนของการบริโภคที่เพิ่มขึ้น ทำให้โครงการดังกล่าวไม่ต่างอะไรกับ “การหว่านเงิน”

ปฏิรูป 'โทษปรับ' เพิ่มประสิทธิภาพ สร้างความเป็นธรรม

ข้อเสนอที่เป็นทั้งมาตรการระยะสั้น และระยะยาว จะเกิดขึ้นได้เมื่อภาครัฐ ‘ปรับวิธีคิด’ รัฐต้องเข้าใจว่าคนจน คือ คนที่เข้าไม่ถึงโอกาส และมีข้อจำกัดในการใช้ทรัพยากรของรัฐ เพราะคนจน ต้องพึ่งพาทุนทางทรัพยากร แต่การเกิดขึ้นของโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ ทำให้ที่ดิน แหล่งน้ำ และป่าไม้ลดน้อยลงไป รัฐจึงต้องเร่งพัฒนาและสร้างศักยภาพให้กับกลุ่มคนจนอย่างเหมาะสม  ออกแบบแนวทางการอบรมให้เป็นไปตามวิถีการใช้ชีวิต 

นอกจากนี้ ผู้มีรายได้น้อยและกลุ่มเปราะบางยังต้องการระบบดูแลสุขภาพด้วย หากเกิดอาการเจ็บป่วยจากสภาพอากาศร้อนจัดขึ้นมา เนื่องจาก “ด้วยเงินที่เขามีจำกัด บางทีการเข้าถึงระบบการดูแลรักษาสำหรับคนกลุ่มนี้ก็ยังยากพอสมควร”

เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

เศรษฐกิจรัฐธรรมนูญ: พลวัตของบทบัญญัติรัฐธรรมนูญในทางเศรษฐกิจ

ที่มา: จากการคำนวณของผู้เขียน ข้อมูลจากกรมสุขภาพจิตและกระทรวงมหาดไทย

ผ่อนบ้านไม่ไหว ปล่อยให้ธนาคารยึดดีไหม? หรือทางออกมีมากกว่าที่คิด

วิจัยพบ 'การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ' อาจทำให้โลกหมุนช้าลง และกระทบต่อการนับเวลาของโลก

แต่การจัดสรรสวัสดิการอย่างเหมาะสมได้ ภาครัฐต้องมีข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำ และตรงกับความเป็นจริง ‘รศ.กนกวรรณ มะโนรมย์’ อาจารย์ประจำสาขาวิชาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มองว่า สิ่งที่ต้องทำอย่างเร่งด่วน และถือเป็นจุดเริ่มต้นของการแก้ปัญหาความจนอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การทบทวนฐานข้อมูลภาครัฐเกี่ยวกับคนจน และผู้มีรายได้น้อย เพราะจากการลงพื้นที่ ‘คนจน’ ไม่ได้แบ่งแยกเพียงเส้นแบ่งความจน หรือรายได้ในแต่ละปี แต่ยังมีความสลับซับซ้อนมากกว่านั้น และไม่ควรใช้ข้อมูลการรับสวัสดิการที่ไร้ซึ่งการตรวจสอบความถูกต้อง อย่าง ‘บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ’ หรือ ‘บัตรคนจน’ เพราะหลายกรณีที่เกิดขึ้น วิกฤตคนจน คือ “คนจนจริงไม่ได้ คนที่ได้กลับไม่จน” เพราะคนจนจริง ๆ ไม่สามารถเข้าถึงการลงทะเบียนได้ ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำตั้งแต่แรก

ย้อนกลับไปสมัยวิกฤตต้มยำกุ้ง การลอยตัวค่าเงินบาท ทำให้หนี้สินของรัฐและเอกชน ที่กู้มาจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นหลายเท่า ลูกหนี้จำนวนมากขอเจรจาลดหนี้กับธนาคารที่ต้องไประดมทุนเพิ่มจากนักลงทุนต่างประเทศ ในส่วนของรัฐบาลก็ต้องปรับโครงสร้างทางกฎระเบียบการกู้ยืมของสถาบันการเงิน เพิ่มวินัยการเงิน การคลัง ขณะเดียวกัน ก็หันมาส่งเสริมการส่งออก และดึงดูดชาวต่างชาติให้มาท่องเที่ยวในประเทศในยามที่ค่าเงินบาทอ่อน

คนจนอยู่ไหน? ส่องดาต้าใหม่ๆ ในการตามหาคนจนยามวิกฤต

มองอนาคต เครื่องบิน รถไฟ และรถขุดมหึมา พวกเขาจะผลักดันขีดจํากัดของพลังงานไฟฟ้าได้อย่างไร

หรือเมืองไทยจะกลายเป็น ‘เซฟเฮาส์โลก’ ชาวเมียนมาแห่ซื้อคอนโดฯ ในไทย สะท้อนอะไร ?

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

Comments on “วิกฤตคนจน Secrets”

Leave a Reply

Gravatar